Other

การสอนแบบตรง (direct method)   

               การสอนแบบตรงเป็นวิธีแรกหลังจากเกิดการปฏิรูปทางด้านการสอนภาษาต่างประเทศเนื่องจาก นักภาษาศาสตร์เห็นว่าวิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปลมิได้ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร          
            ดังนั้นจุดมุ่งหมายของการสอนแบบตรงคือมุ่งให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพื่อการติดต่อสื่อสาร บทเรียนส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยกิจกรรมที่เป็นบทสนทนา เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ผู้เรียนจะถูกกระตุ้นให้ใช้ภาษาต่างประเทศที่กำลังเรียนอยู่ตลอดเวลา โดยไม่มีการใช้ภาษาของผู้เรียนเลยเวลาสอนผู้สอนจะพยายามสร้างสภาพแวดล้อมในห้องเรียน ให้เหมือนสภาพแวดล้อมที่ต้องใช้ภาษาต่างประเทศผู้สอนจะใช้ภาษาต่างประเทศตลอดเวลา ไม่มีการเน้นสอนไวยากรณ์จะไม่มีการบอกกฎไวยากรณ์อย่างชัดเจน แต่การเรียนรู้ไวยากรณ์จะเรียนรู้อยากตัวอย่างและการใช้ภาษา แล้วสรุปกฎเกณฑ์ ถึงแม้จะมีการฝึกทักษะทั้ง 4 คือ ฟัง-พูด อ่าน เขียน แต่การฝึกทักษะพูดเป็นพื้นฐานที่สำคัญที่สุดทักษะอ่าน และเขียนจะมีพื้นฐานมาจากการพูดก่อน วิธีสอนแบบนี้เน้นการรู้วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของผู้พูดภาษานั้น ๆ ด้วย           
          วิธีสอนแบบตรงบางครั้งเรียกว่าวิธีสอนตามธรรมชาติ (natural method) ในศตวรรษที่ 19 เริ่มมีการปฏิรูปทฤษฎีการเรียนรู้ทางภาษาโดยให้ความสนใจกับการเรียนรู้ภาษาตามแนวธรรมชาติคือ มีความคิดที่จะพยายามสอนภาษาที่สองเหมือนกับการสอนภาษาที่หนึ่ง นักภาษาศาสตร์หลาย ๆ คนเชื่อว่าการสอนภาษาต่างประเทศไม่มีความจำเป็นต้องแปลเป็นภาษา ที่หนึ่งถ้าผู้สอนรู้จักที่จะทำให้ผู้เรียนเข้าใจโดยการสาธิตและแสดงท่าทาง จากเหตุผลที่ไม่ใช้ภาษาที่หนึ่ง ในชั้นเรียนจึงทำให้วิธีสอนแบบตรงมีปัญหาเรื่องครูสอน เพราะครูผู้สอนวิธีนี้จะเป็นครูที่เป็นเจ้าของภาษา เนื่องจากครูที่ไม่ใช้เจ้าของภาษามีข้อจำกัดในการใช้ภาษาเป้าหมายตลอดเวลาจึงหาครูที่มีความสามารถเช่นนี้ ไม่ค่อยง่ายนัก และการหลีกเลี่ยงไม่ใช้ภาษาที่หนึ่งเลยบางทีก็เกิดผลเสียบางครั้งการใช้ภาษาที่หนึ่ง อธิบายเพียงสั้น ๆ อาจทำให้ผู้เรียนเกิดความกระจ่างและช่วยให้เกิดการเรียนรู้ทางภาษาได้เร็วกว่าใช้ภาษาที่สอง           นอกจากนั้นการที่ผู้สอนใช้ภาษาเป้าหมายตลอดเวลาในชั้นเรียนทำให้ผู้เรียนเกิดความคับข้องใจ (frustration) ด้วยข้อจำกัดดังกล่าวจึงเป็นเหตุให้นักภาษาศาสตร์พัฒนาวิธีสอนใหม่ขึ้นมาคือ วิธีสอนแบบฟัง-พูด (audio-lingual method)

สรุปลักษณะสำคัญของการสอนแบบตรงดังนี้         
- ใช้ภาษาเป้าหมายเท่านั้น         
- ผู้เรียนจะถูกฝึกให้ใช้ภาษาเป้าหมายที่เป็นภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน         
 - ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้คิดเป็นภาษาเป้าหมาย         
- ทักษะแรกที่เน้นคือทักษะพูดแล้วจึงพัฒนาทักษะอ่าน
การสอนแบบตรง

    การสอนแบบตรง Direct Method




เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมกลุ่ม
  (Co – op – Co - op)
เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือร่วมกลุ่ม  (Co – op – Co - op)ซึ่งเทคนิคนี้ประกอบด้วยขั้นตอนต่าง ๆ  ดังนี้คือ  นักเรียนช่วยกันอภิปรายหัวข้อที่จะศึกษา  แบ่งหัวข้อใหญ่เป็นหัวข้อย่อยแล้วจัดนักเรียนเข้ากลุ่มตามความสามารถที่แตกต่างกัน  กลุ่มเลือกหัวข้อที่จะศึกษาตามความสนใจของกลุ่ม  กลุ่มแบ่งหัวข้อย่อยออกเป็นหัวข้อเล็ก ๆ เพื่อนักเรแต่ละคนในกลุ่มเลือกไปศึกษา  และมีการกำหนดบทบาทและหน้าที่ของแต่ละคนภายในกลุ่ม  แล้วนักเรียนเลือกศึกษาเรื่องที่ตนเลือกและนำเสนอต่อกลุ่ม   กลุ่มรวบรวมหัวข้อต่าง ๆ จากนักเรียนทุกคนภายในกลุ่ม แล้วรายงานผลงานต่อชั้นและมีการประเมินผลงานของกลุ่ม
ขั้นตอนการทำกิจกรรมของ

โค-ออฟ โค-ออฟ (Co-op Co-op)

1. ผู้สอนกำหนดเนื้อหาหรือประเด็นที่ต้องการให้ผู้เรียนศึกษา
2. ผู้เรียนทั้งชั้นร่วมกันอภิปรายหัวข้อที่จะศึกษา
และแบ่งหัวข้อใหญ่เป็นหัวข้อย่อย (subtopic)
เท่ากับจำนวนกลุ่มที่จะจัด
3. จัดผู้เรียนเข้ากลุ่มประมาณกลุ่มละ 3-5 คน
4. แต่ละกลุ่มเลือกหัวข้อย่อยที่จะศึกษาตามความสนใจของกลุ่ม
5. กลุ่มแบ่งหัวข้อย่อยที่ได้รับเป็นหัวข้อเล็ก ๆ (minitopic) เท่ากับจำนวนสมาชิกในกลุ่ม เพื่อให้ทุกคนได้ศึกษา
6. ผู้เรียนแต่ละคนศึกษาหัวข้อเล็กที่ตนเลือก แล้วนำเสนอต่อกลุ่ม
7. กลุ่มรวบรวมรายละเอียดจากสมาชิก แล้วอภิปรายเพื่อหาข้อสรุปและนำเสนอต่อชั้น



การสอนเทคนิคแบบ Co-op-Co-op





TESOL QUARTERLY          
Volume 43, Number 4 December 2009
Authors :  CELIA ROBERTS &  MELANIE  COOKE                                                  King’s College  London, England  Page : 620 – 632
Conclusion
        focus on in this article: first,  the opportunity to develop the voice (or voices) needed for authentic self-expression in social and interpersonal encounters.
Second, the opportunity to close the gap between fleeting asymmetrical encounters and the ability to manage the extended institution interaction required to negotiate welfare, medical, and work-related communication.




Teaching Writing, Teaching Media



Free Write : Activity
Link the Plot: Some framework and development of interesting plot
1. Students are given a story start and ending, eg.
Start: Tim brought his skateboard to school.
Ending: Everyone was sent home at lunch time.
2. Students write in between sequence of events, either by:
    (a) 3-4 dot points or (b) Writing in full
•Expand one of your bullet points.
•Students write STARTS and ENDINGS on  strips. Lucky dip from each to write.
•Draw comic strip of events before writing.
•Use this strategy for oral story-telling.

Activity


Remediation Model
(T-T-T)
Cambridge University Press
 Edited by Jack C. Richard and
 David Nunan
T- Try again
         Merely thinking and talking about what has happened will often mark it possible for the teacher to modify their own behavior.
T- Team-teach.
            Some options may require demonstration. It is difficult, for explain in words the characteristics of effective drilling, or the efficient organization of group work-such things are easier to demonstrate.
T- Train.
          For some purpose or in some contexts, training may be the most effective or economical or feasible strategy. This will generally take place outside the classroom.



Improving Achievement in Low- Performing Schools
   Teacher of English language learners  should review their student’s   English language survey and assess-ment information to determine the  individual learning needs of all  student.  Teacher should verify that students  have been properly placed in English
development classes, including structure English immersion, sheltered  English immersion, and  English mainstream classes. In the English  mainstream classes, classroom teachers   should create small-group learning opportunities for students to practice their skill development and build confidence in learning. Curriculum should be adapt for real-life learning relevancy.


From : 370 Chapter 3 : Creating a key results accountability process


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น